mmmsc.com

เยส ป 4

การ ทํา แผล เบื้องต้น

November 13, 2022, 8:58 pm
powerpoint-ความ-หมาย

โอ๊ย! คุณเพิ่งสัมผัสถูกของร้อนจนเกิดตุ่มพองบนนิ้วมือใช่หรือไม่? ตุ่มพองและรอยแดงบนผิวเป็นอาการแสดงของแผลไหม้ระดับที่สองที่สามารถก่อให้เกิดความเจ็บปวดและนำไปสู่โรคแทรกซ้อนได้หากไม่ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม [1] คุณสามารถรักษาแผลไหม้พุพองบนนิ้วมือได้ง่ายๆ โดยทำการปฐมพยาบาลเบื้องต้นโดยทันทีหลังได้รับบาดเจ็บ รวมถึงหมั่นทำความสะอาดและดูแลบาดแผลอย่างเหมาะสมและส่งเสริมการฟื้นฟูของแผลให้หายเร็วยิ่งขึ้น 1 เปิดน้ำเย็นให้ไหลผ่านนิ้ว. เมื่อได้รับบาดเจ็บจากการสัมผัสถูกของร้อน ให้เปิดน้ำเย็นให้ไหลผ่านแผลไหม้บนนิ้วนาน 10-15 นาที นอกจากนี้ คุณยังสามารถใช้ผ้าขนหนูชุบน้ำเย็นแล้วห่อนิ้วไว้นานในระยะเวลาเท่ากันหรือจุ่มนิ้วลงไปในน้ำเย็นแทนได้เช่นกันหากคุณไม่สะดวกใช้วิธีเปิดน้ำให้ไหลผ่าน [2] การทำให้แผลเย็นลงด้วยน้ำเย็นจะช่วยบรรเทาอาการเจ็บปวด ลดอาการบวม และป้องกันไม่ให้เนื้อเยื่อถูกทำลาย [3] หลีกเลี่ยงการใช้น้ำเย็นจัด น้ำอุ่น หรือน้ำแข็งเพื่อป้องกันไม่ให้แผลไหม้และตุ่มพองมีอาการแย่ลง [4] น้ำเย็นจะช่วยบรรเทาอาการแสบร้อน ลดอาการบวม และทำให้แผลหายดีเร็วยิ่งขึ้นโดยแทบไม่หลงเหลือรอยแผลเป็น 2 ถอดเครื่องประดับออกในขณะที่เปิดน้ำเย็นไหลผ่าน.

วิธีล้างแผล ทำแผล ให้ถูกต้อง | We Mahidol - YouTube

วิธีล้างแผล ทำแผล ให้ถูกต้อง | We Mahidol - YouTube
  1. DIY! “ วิธีทำให้ไฟหน้าสว่างโดยไม่ต้องเปลี่ยนหลอดไฟ” | Webike Thailand
  2. การทำแผลเบื้องต้น - YouTube
  3. S pen note 10 ราคา
  4. การเย็บแผลเบื้องต้น – บริษัท ศูนย์การแพทย์เอฟเอ็มซี จำกัด

หลายคนอาจเคยได้ยินว่าเนยสดสามารถนำมาใช้ในการรักษาแผลไหม้ได้ แต่แท้จริงแล้วเนยสดมีคุณสมบัติในการกักความร้อนและเป็นสาเหตุทำให้เกิดการติดเชื้อ [16] เพื่อป้องกันไม่ให้แผลไหม้ของคุณเกิดการกักความร้อนและการติดเชื้อ ให้หลีกเลี่ยงการทาแผลด้วยเนยสดหรือวัสดุในครัวเรือนอื่นๆ เช่น: [17] ยาสีฟัน น้ำมัน มูลโค [18] ขี้ผึ้ง ไขมันหมี ไข่ มันหมู 1 ทานยาแก้ปวด. แผลไหม้พุพองสามารถก่อให้เกิดอาการเจ็บปวดและอาการบวมเป็นอย่างมาก และการทานยาแก้ปวดชนิดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นแอสไพริน ไอบูโพรเฟน นาพรอกเซน หรืออะเซตามีโนเฟนนั้นจะช่วยลดความทรมานจากอาการเจ็บปวดและอาการบวมของแผลไหม้ได้ ควรปฏิบัติตามคำแนะนำและข้อห้ามในการใช้ยาตามที่แพทย์หรือฉลากยาระบุไว้ [19] 2 เปลี่ยนพลาสเตอร์ทุกวัน. เปลี่ยนพลาสเตอร์อย่างน้อยวันละครั้งเพื่อให้มั่นใจว่าพลาสเตอร์สะอาดและแห้งอยู่เสมอ และหากคุณสังเกตเห็นว่ามีของเหลวไหลซึมออกมาหรือเปียกน้ำ ให้เปลี่ยนพลาสเตอร์ใหม่ทันที การหมั่นเปลี่ยนพลาสเตอร์ให้สะอาดและแห้งอยู่เสมอจะช่วยปกป้องบาดแผลจากสิ่งแปลกปลอมและป้องกันไม่ให้เกิดการติดเชื้อ [20] หากพลาสเตอร์ติดแผลแน่นจนดึงไม่ออก ให้คุณแช่นิ้วในน้ำเย็นหรือน้ำเกลือเพื่อให้ลอกออกง่ายยิ่งขึ้น [21] 3 หลีกเลี่ยงการเสียดสีและการรับแรงกดบนบาดแผล.

ประตู 2 ตำบลไชยมงคล อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ค่าสมัครเข้าร่วมอบรม 1, 800 บาท/คน สมัครได้ที่นี่ วิทยากร รศ. พญ. ชวัลญ์ญา รัตนพิทูลย์ นพ. นาว ลา พว. ทิตยา หานุสิงห์

หลักสูตรการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

พลาสเตอร์เทปปิดแผลขนาดต่างๆ ใช้สำหรับปิดแผลหลังจากล้างทำความสะอาดแล้ว 5. กรรไกร ใช้ตัดผ้าก็อซหรือตัดผ้าหรือขากางเกงเช่น เกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน 6. เทปติดแผล 7. ผ้าปิดตา ใช้สำหรับการบาดเจ็บที่นัยน์ตา เช่น กระจกตาถูกบาด ฝุ่นละอองเข้าตา เป็นต้น 8. เข็มกลัด ใช้ติดผ้าสามเหลี่ยม ผ้าคล้องคอ ผ้ายืด 9. สำลี ไม้พันสำลี ใช้สำหรับทายา ล้างแผลรอบๆ ซับเลือดในแผลที่เป็นรูลึก 10. ผ้ายืด(อีลาสติกแบนเอด) ใช้สำหรับพันเมื่อเกิดการบาดเจ็บกล้ามเนื้อ ข้อ เพื่อลดการบวม ลดการเคลื่อนไหว หรือใช้พันยึดกับอุปกรณ์อื่นๆ เพื่อดาม กระดูก ผ้ายืดยังสามารถนำมาพันทับผ้าก๊อซหรือพลาสเตอร์ติดแผลเพื่อห้ามเลือด แต่ห้ามพันแน่นจนเกินไปเพราะทำให้อวัยวะส่วนปลายเกิดการ บวมและขาดเลือดมา เลี้ยงได้ 11. ผ้าสามเหลี่ยมคล้องแขน 12. สมุดจดบันทึก เพื่อบันทึกอาการ ตำแหน่งที่บาดเจ็บ การรักษาที่ให้ไป เพื่อส่งต่อให้ผู้ดูแลรักษาต่อไป 13. ถุงพลาสติก 1 ใบ สำหรับใส่เศษขยะ เช่น ผ้าเปื้อนเลือด เป็นต้น 14. ยาฉุกเฉินสำหรับรับประทาน ยาที่ใช้รับประทาน อยู่ภายในกล่องปฐมพยาบาล โดยกล่องบรรจุยานี้ต้องปิดมิดชิด ไม่เปิดได้โดยง่าย มีข้อความระบุ ข้างกล่องชัดเจนว่า เป็นยาสำหรับรับประทาน ควรมียาเฉพาะที่จำเป็นเท่านั้น คือ 14.

เนื่องจากความเย็นสามารถช่วยลดอาการบวมได้ ดังนั้นในขณะที่คุณกำลังทำให้แผลเย็นลงด้วยน้ำเย็นหรือผ้าชุบน้ำ ให้ถอดแหวนหรืออุปกรณ์อื่นๆ ที่พันรอบนิ้วออกอย่างรวดเร็วและเบามือให้มากที่สุดก่อนที่บริเวณที่เกิดแผลจะเริ่มบวมยิ่งขึ้น วิธีนี้จะทำให้คุณรู้สึกเจ็บน้อยลงเมื่อถอดเครื่องประดับ อีกทั้งยังช่วยให้แผลไหม้ฟื้นฟูได้เร็วยิ่งขึ้น [5] 3 หลีกเลี่ยงการเจาะตุ่มพองให้แตก. คุณอาจสังเกตเห็นตุ่มพองขนาดเล็กเกิดขึ้นมาทันทีหลังจากได้รับบาดเจ็บ พยายามปล่อยตุ่มพองทิ้งไว้โดยไม่ต้องเจาะให้แตกเพื่อป้องกันไม่ให้แบคทีเรียเจริญเติบโตและเกิดการติดเชื้อ แต่หากตุ่มพองเกิดแตกออก ให้คุณทำความสะอาดเบาๆ ด้วยน้ำเปล่าและสบู่สูตรอ่อนโยน จากนั้นทายาต้านเชื้อแบคทีเรียและพันแผลด้วยผ้าก๊อซให้เรียบร้อย [6] ไปพบแพทย์ทันทีหากตุ่มพองมีขนาดใหญ่ ซึ่งแพทย์ของคุณอาจจำเป็นต้องเจาะตุ่มพองให้แตกเพื่อลดความเสี่ยงไม่ให้ตุ่มพองแตกออกเองหรือนำไปสู่การติดเชื้อ 4 ไปพบแพทย์โดยทันที. ในบางกรณีแผลไหม้ที่มีตุ่มพองอาจจำเป็นต้องได้รับการตรวจจากแพทย์ ควรรีบไปโรงพยาบาลหรือคลินิกใกล้บ้านโดยทันทีหากคุณมีอาการดังต่อไปนี้: [7] ตุ่มพองใหญ่ผิดปกติ มีอาการเจ็บอย่างรุนแรงหรือไม่มีอาการเจ็บเลย แผลไหม้ลุกลามไปทั่วทั้งนิ้วหรือไปถึงนิ้วอื่นๆ ล้างทำความสะอาดตรงบริเวณที่เกิดแผลไหม้และตุ่มพอง.

แผลไฟใหม้ แผลไฟใหม้น้ำร้อนลวก ถอดเสื้อผ้าออกจากตัวผู้ป่วย หากไหม้ติดกับผิวหนังควรใช้กรรไกรตัด ใช้น้ำสะอาดล้างแผล เพื่อทำความสะอาด ห้ามใช้โลชัน ยาสีฟัน หรือยาปฏิชีวนะทาบนแผลไฟไหม้ ทายาและปิดแผลด้วยผ้าสะอาด หากเป็นตุ่มน้ำใส ให้ปิดแผลหลวม ๆ หากสงสัยว่าแผลใหม้ลึกถึงเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง ไม่ควรให้แผลโดนน้ำ ปิดบาดแผลของผู้บาดเจ็บด้วยผ้าสะอาดหรือผ้าก๊อซ และพบแพทย์โดยเร็ว 2. แผลใหม้จากสารเคมี ใช้น้ำสะอาดชำระล้าง โดยให้น้ำไหลผ่านบาดแผลนั้น เพื่อลดความเข้มข้นของสารเคมี ห้ามใช้การแก้พิษโดยสารเคมี และรีบไปพบแพทย์ บาดแผลฉีกขาด บาดแผลฉีกขาดทั่วไป ใช้น้ำสะอาดล้างแผล และใช้ผ้าสะอาดหรือผ้าก๊อซปิดปากแผลเพื่อห้ามเลือด แผลจากวัตถุหักคาแผล ห้ามดึงวัตถุที่หักคาออกจากบาดแผล ยึดวัตถุที่หักคาให้อยู่นิ่งก่อนนำผู้ป่วยมาโรงพยาบาล แผลอวัยวะถูกตัดขาด ห้ามแช่อวัยวะที่ถูกตัดขาดลงไปในน้ำแข็งโดยตรงเด็ดขาด ควรเก็บอวัยวะที่ขาดใส่ถุงพลาสติกสะอาด รัดปากถุงให้แน่นแล้วนำถุงไปแช่ในภาชนะที่มีน้ำผสมน้ำแข็ง รีบนำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลโดยเร็ว ข้อมูล ณ วันที่ 8 กรกฎาคม 2564 ที่มา: อ. นพ. ธนดล โรจนศานติกุล

NIA ปตท. และ IRPC โดยมีบริษัท โนวาเมดิค จำกัด ผู้นำเข้าไหมแบบม้วนสำหรับเย็บแผล เป็นที่ปรึกษา เริ่มดำเนินโครงการมาตั้งแต่ปี พ. ศ. 2562 คาดว่าจะสามารถยื่นขอ อย. เพื่อขึ้นทะเบียนเป็นเครื่องมือแพทย์ออกจำหน่ายได้ในประมาณต้นปี พ. 2566 หลังผลการทดสอบ Clinical Trial เฟส 1 ประสบความสำเร็จ รศ.

แล้ว จะสามารถผลิตออกมาจำหน่ายในเชิงพาณิชย์ได้ภายในปี 2566 เบื้องต้นคาดว่าจะทำความร่วมมือกับโรงพยาบาลสัตว์เล็กทั่วประเทศ เนื่องจากแต่ละปีมีการใช้ไหมเย็บแผลเป็นจำนวนมาก หากใช้ไหมที่เราพัฒนาขึ้นเองในประเทศไทยจะช่วยลดค่าใช้จ่ายลงได้ไม่น้อย ทั้งนี้การจะนำมาใช้รักษากับคน หรือใช้กับกลุ่มไหนก่อนขึ้นอยู่นโยบายของคณะกรรมการ บพข. รวมกับภาคอุตสาหกรรม แต่สิ่งสำคัญที่สุดคือ การจะนำไหมเย็บแผลไปใช้งานจริงจะต้องเป็นงานที่สมบูรณ์ไร้ข้อผิดพลาด และต้องได้รับการยอมรับจากแพทย์และภาครัฐให้การสนับสนุน" ต้นแบบผลิตภัณฑ์ "CMUsorb" ซึ่งเป็นไหมพลาสติกจากวัสดุประเภท PLC รศ.